วันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2559

ข้อมูลประกอบการเรียนการสอนรายวิชา Geographic Information System 2 (GIS 2)





ข้อมูลประกอบการเรียนการสอนรายวิชา


Geographic Information System 2


(GIS 2)


เรื่อง Vector Model


จัดทำโดย 





นายกิตติพงษ์ นิลวดี รหัสนิสิต 57170004

นายธนพัฒน์ จันทร์สระคู รหัสนิสิต 57170042


นายชนินธร สุนทรวิภาต รหัสนิสิต 57170146


นายณภัทร แก้ววิชิต รหัสนิสิต 57170149


นางสาวณัฐธนุทัต ไกรทิพย์บดี รหัสนิสิต 53170011



เสนอ

อาจารย์ ดร.ณรงค์   พลีรักษ์


ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา


วันศุกร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2559

VectorModel(Lab11)



แลปที่ 11  การวิเคราะห์แบบจำลองเวกเตอร์ (Vector model)





การรวมชั้นข้อมูลเข้าด้วยกัน (Merge)

เปิดชั้นข้อมูลที่ต้องการรวมเข้าด้วยกัน  ได้แก่  a5138i  a5138iii  a5138iv  a5139iii



ทำการรวมทั้ง 4 ชั้นข้อมูลเข้าด้วยกัน โดยใช้คำสั่ง Merge




การเชื่อมความสัมพันธ์ตารางของข้อมูล

จากนั้น ทำการเปิดข้อมูลตาราง luamp  luprv  และ  lutam


 เปิด ข้อมูลตารางของ  luprv  เพื่อเชื่อมข้อมูลจังหวัด เข้ากับ ชั้นข้อมูล  Admin  โดยเปิดข้อมูลตาราง  Admin  แล้วใช้คำสั่ง Join  เนื่องจากมีความสัมพันธ์แบบ กลุ่มต่อหนึ่ง
 ในช่องข้อที่ 1 เลือกใส่ PRV_ID   ช่องข้อที่ 2  ให้เลือกใส่  luprv  และข้อที่ 3 ใส่เหมือนกับช่องที่ 1  จากนั้น  กด OK



จากนั้นก็ทำการเชื่อมข้อมูลตาราง  luamp  กับ  ข้อมูล Admin  โดยเปิดข้อมูลตารางของ Admin  แล้วใช้คำสั่ง  Join  จากนั้น ในช่องข้อที่ 1 เลือกใส่ AMP_ID   ช่องข้อที่ 2  ให้เลือกใส่  luamp  และข้อที่ 3 ใส่เหมือนกับช่องที่ 1  จากนั้น  กด OK



จากนั้นก็ทำการเชื่อมข้อมูลตาราง  lutam  กับ  ข้อมูล Admin  โดยเปิดข้อมูลตารางของ Admin  แล้วใช้คำสั่ง  Join  จากนั้น ในช่องข้อที่ 1 เลือกใส่ ADM_ID   ช่องข้อที่ 2  ให้เลือกใส่  lutam  และข้อที่ 3 ใส่เหมือนกับช่องที่ 1  จากนั้น  กด OK



การทำ  Buffer  ขอบเขตของเขื่อน

เปิดข้อมูล  dem ของเขื่อนป่าสัก ขึ้นมา



ไปที่ คำสั่ง  Buffer



ในช่อง  input  เลือก  dem  และส่วนช่อง  output ให้เลือกโฟลเดอร์ที่จะทำการจัดเก็บ  ส่วนช่อง Distance ให้ใส่ค่าระยะทาง  ในที่นี่กำหนดเป็น 500  แล้วกด  OK



จะได้  ดังภาพ



Clip ชั้นข้อมูลขอบเขตของ  Admin กับ ข้อมูล dem  ของเขื่อนที่ได้ทำการ Buffer ไป



ในช่อง  input  ใส่ Admin  ส่วนช่อง Clip Feature ใส่ dem ที่ได้ buffer แล้ว และช่อง output เลือกโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บ แล้วกด OK



เปิดข้อมูล  Land use  ได้แก่ I5138i  I5138iii  I5138iv  I5139iii



ทำการรวมชั้นข้อมูล โดยใช้คำสั่ง Merge



นำข้อมูลตาราง  lucode  ขึ้นมา



จากนั้นก็ทำการเชื่อมข้อมูลตาราง  lucode  กับ  ข้อมูล Land use  โดยเปิดข้อมูลตารางของ Land use  แล้วใช้คำสั่ง  Join  จากนั้น ในช่องข้อที่ 1 เลือกใส่  LUCODE   ช่องข้อที่ 2  ให้เลือกใส่  lucode  และข้อที่ 3 ใส่เหมือนกับช่องที่ 1  จากนั้น  กด OK



Clip ชั้นข้อมูลขอบเขตของ  Land use  กับ ข้อมูล dem  ของเขื่อนที่ได้ทำการ Buffer ไป



ในช่อง  input  ใส่ Land use  ส่วนช่อง Clip Feature ใส่ dem ที่ได้ buffer แล้ว และช่อง output เลือกโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บ แล้วกด OK



ทำการ Union หรือ รวมข้อมูลเข้าด้วยกัน


ในช่อง input ใส่ชั้นข้อมูล Admin500 กับ LUDEM500_clip ส่วนในช่อง output เลือกโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บ  แล้วกด  OK



การคำนวณพื้นที่

เปิดตาราง Attribute ของชั้นข้อมูลที่ได้ทำการ Union ไป  แล้วทำการเพิ่ม Field  โดยไปที่  Table option  > Add Field



ตั้งชื่อ  เปลี่ยน type เป็น Float  ในช่อง precision พิมพ์ 20 และ scale พิมพ์เป็น 2  แล้วกด OK



จากนั้น คลิกขวาที่หัว Field  ที่ต้องการคำนวณ เลือก Calculate Geometry



ในช่อง  Property เลือกเป็น  Area  แล้วกด OK



จะได้  ดังภาพ



เปิด โปรแกรม Excel  ขึ้นมา



ทำการเปิดไฟล์ ของข้อมูลที่เป็น นามสกุล dbf



จะได้  ดังภาพ



ไปที่  Insert (แทรก)  >  Pirotable