วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558

การทำแผนที่แบบสามมิติ



Lab 3 3D

การทำแผนที่แบบสามมิติ

    Step 1

-  นำเข้าชั้นข้อมูลที่ได้จากการดิจิไตซ์ของมหาวิทยาลัยบูรพา
-  จากนั้นให้คลิกขวาที่ Building และเลืแก Open Attribute และให้เราทำการ Add Field
-  ทำการตั้งชื่อ Field ว่า Height เลือก Type > Double
-  ทำการใส่ค่าความสูงของตึก โดยไปที่ Editor > Start Editing แล้วทำการใส่ค่า เมื่อเสร็จให้ทำการ Save > Stop Editing


Step 2

-  เปิดโปรแกรม Arc Seene 
-  คลิกขวาที่ BD เลือก Properties > Extrusion height 
- เลือก adding....Maximum จะได้ภาพสามมิติออกมา
-  คลิกขวาที่หน้าต่าง tools bar > Animation > animation control > Record.. และเลือกไอค่อนรูปนก
  - เสร็จแล้วให้เราไปที่ animation > Export Animation เลือกที่เก็บไฟล์จากนั้นทำการ Export


Topology



Lab 9

Topology


-          สร้างไฟล์ Geodatabase … Personal Geodatabase
-          เมื่อได้ไฟล์ Geodatabase มาแล้ว กด New… Feature Dataset…
-          ใส่ค่าพิกัดในแนวตั้งแล้วแนวนอน
-          ทำการ Import Singer Data….
-          ทำการสร้างไฟล์ Topology ขึ้นมาใหม่ โดยเลือก New…Topology…
-          เลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการจะทำการ Topology
-          ทำการเลือกลำดับความสำคัญของข้อมูล
-          Add Rule … เลือก R_Topo … แล้วทำการเลือก Must Not Have Dangles เพื่อแสดงจุดจบของเส้น
-          Add Rule … เลือก F_Topo … แล้วทำการเลือก Must Not Overlab เพื่อแสดงค่าที่ซ้อนทับกัน
-          เลือก Must Have Not Gapps เพื่อไม่ให้ Polygon มีช่องว่างระหว่าง 2 โพลิกอน
-          หลังจากกด Next และ Finish จะได้ไฟล์ Topology
-          บริเวณที่เม้าส์ชี้คือบริเวณที่ซ้อนทับหรือมีช่องว่างระหว่างกัน
-          วิธีการดูค่าผิดพลาด เข้าไปที่ Properties
-          เลือก Tabs ที่ชื่อว่า Error เพื่อดูค่าผิดพลาดของชั้นข้อมูล
-          เข้าไปที่ Start Editing แล้วเลือก Edit Vertical เพื่อทำการแก้ไขชั้นข้อมูล
-          ทำการแก้ไขโดยเลื่อนจุดที่ซ้อนทับกันให้เป็นเส้นเดียวกัน
-          เมื่อทำการลากเส้นให้เสมอกันแล้วกดปุ่ม Validate Topology In Current Extent เพื่อทำการ Save ค่า
-          สิ้นสุดการทำงาน Save … Stop Editing







การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่



Lab 9

     Spatial analysis-1
              การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่

วิธีการคำสั่ง clip มี 3 วิธี
1.เปิดใน Arc toolbox >Extract >clip
2. search > clip
3. ไปที่ toolbar >Geoprocessing>clip
ก่อนอื่นทำการสร้างแฟ้มงานไว้โฟลเดอร์หนึ่งก่อน และทำการเปิดชั้นข้อมูลที่จะต้องการทำการclip แล้วเข้าคำสั่ง clip เราจะทำการ clip ชั้นข้อมูล rain กับ provinceinput : rain_sta > output : PROVINCE ให้เลือกแฟ้มที่จะจัดเก็บตั้งชื่อแล้วกด Save
-          การประมวลผลหลาย ๆ ข้อมูลพร้อมกัน (Batch processing)
โดยคลิกขวาที่คำสั่ง clip ใน arctoolbox > Batch แล้วลากข้อมูลเข้าไปในช่อง Input ถ้าต้องการจะเพิ่มก็ให้กดเครื่องหมายบวก โดยถ้าจะเซฟที่แฟ้มไหนให้คลิกสองครั้งที่ out put และเลือกโฟล์เดอร์ที่จะทำการเซฟ ตั้งชื่อ กดเซฟ เมื่อเสร็จแล้วให้คลิก OK
-          การหาพื้นที่ซ้อนทับด้วยคาสั่ง Intersect
เลือกชั้นข้อมูลที่จะทำการ intersect ใน input ผลจะแสดงตามภาพเมื่อเราทำการ intersect เรียบร้อยแล้วหน้าตาราง ข้อมูลที่ได้จากการ intersect ของ 2 ข้อมูล
-     การรวมพื้นที่ด้วยคาสั่ง Union
ในที่นี้เราจะเอาชั้นข้อมูล landuse_clip+POLBNDRY
-          การสร้างระยะห่างหรือแนวกันชนด้วยคำสั่ง Buffer
เลือกชั้นข้อมูลที่เราจะทำการ Buffer > ตั้งชื่อและตั้งชื่อชั้นข้อมูล >Distance ให้ตามใจเราว่าเราต้องการจะตั้งแนวกันชนให้กับชั้นข้อมูลเท่าไร ในที่นี้เราใส่ค่าไป 500 Meter
-          การรวมชั้นข้อมูลด้วยคำสั่ง Merge
ลากชั้นข้อมูลที่ต้องการ Merge ไปในช่อง Input เลือกแฟ้มงานที่ต้องการจะเซฟชั้นข้อมูลแล้วกดOK
-          การรวมกลุ่มข้อมูลด้วยคำสั่ง Dissolve
ลากชั้นข้อมูลที่จะทำการ Dissolve มาไว้ในช่อง input เลือกแฟ้มที่จะจัดเก็บชั้นข้อมูลที่สร้าง คลิกเครื่องหมายถูกที่ MLU_DES และกด OK
-          การวัด (Measure) พื้นที่ ระยะทาง และเส้นรอบวง
-          การวัด (Measure) พื้นที่ ระยะทาง และเส้นรอบวง
การคำนวณระยะทางเส้น เปิดชั้นข้อมูล Line ที่ทำการคลิปแล้วขึ้นมาคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล เลือก Open Attribute Table จะได้หน้าต่างชื่อ Table ขึ้นมาแล้วคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล เลือก Open Attribute Table จะได้หน้าต่างชื่อ Table ขึ้นมาหน้าต่าง Add Field ช่องName ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เปลี่ยนเป็น Float (หน่วยทศนิยม) ช่อง Percisionใส่ค่าเป็น 10 ช่อง Scale ใส่ค่าเป็น 2 (ทศนิยมตํ่าแหน่งเมื่อเรียบร้อยกด OK แล้ว หน้าต่าง Add Field ช่อง Name ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เปลี่ยนเป็น Float (หน่วยทศนิยม)ช่อง Percision ใส่ค่าเป็น 10 ช่อง Scale ใส่ค่าเป็น 2 (ทศนิยมตํ่าแหน่งเมื่อเรียบร้อยกด OK ในช่อง Distance จะมีตัวเลขที่แสดงแต่ละเส้นไหนยาวสุดหรือสั้นสุด
-          การคำนวณหาพื้นที่ Polygon
เปิดชั้นข้อมูลที่ทำการ Clip แล้วขึ้นมาคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล Polygon เลือก Open Attribute Table จะได้หน้าต่างชื่อ Table ขึ้นมาแล้วคลิกคำสั่ง Table Options > Add Field จะได้หน้าต่าง Add Field ขึ้นมาที่หน้าต่าง Add Field ช่อง Name ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เลือกเป็น Double ช่อง Precision ใส่ค่า เป็น 15 ช่อง scale ใส่ค่าเป็น 2 เมื่อเรียบร้อยแล้วกด OK คลิกขวาที่คอลั่ม Area > Calculate Geometry จะมีหน้าต่าง Calculate Geometry ขึ้นมา กด OK ปรากฏค่าตัวเลขขึ้นมา จะสามารถดูได้ว่า Polygon รูปใดมีขนาดใหญ่สุด เล็กสุด
-          การคำนวณหาเส้นรอบวงของ Polygon
ทำเหมือนขั้นตอน ของ Polygon ถึงขั้น ตอน Add Field พอได้หน้าต่าง Add Field ขึ้นมา ที่หน้าต่าง Add Field ช่อง Name ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เลือกเป็น Float ช่องPrecision ใส่ค่าเป็น 15 ช่อง scale ใส่ค่าเป็น 2 เมื่อเรียบร้อยละกด OK คลิกขวาที่คอลั่ม > Calculate Geometry จะมีหน้าต่าง Calculate Geometry ตรงช่องที่เป็น Areaอยู่ให้เปลี่ยนเป็น Perimeter ขึ้นมา กด Ok ในคอลั่มที่สร้างขึ้นจะมีตัวเลขขนาดเส้นรอบวงของ Polygon



การจัดทำแผนที่ (Layout)



Lab 8

การจัดทำแผนที่ (Layout)
-          เปิดโปรแกรม ArcMap 10
-          นำเข้าข้อมูล Boundary Building Water Circle และ Road
-          ไปทีไอคอน Layout View ปรับขนาดกรอบตามความเหมาะสม
-          ต่อไปใส่องค์ประกอบแผนที่
-          วิธีใส่เข็มทิศ > Insert > North Arrow >  เลือกรูปแบบเข็มทิศ > OK > ปรับขนาดตามความเหมาะสม
-          วิธีใส่ Scale bar > Insert > Scale bar > เลือกรูปแบบ scale bar > OK > ปรับขนาดตามความเหมาะสม
-          วิธีใส่คำอธิบายสัญลักษณ์ > Insert > Legend > ขึ้นหน้าต่างที่มีชั้นข้อมูล > Next >เปลี่ยนจาก legend เป็น คำอธิบายสัญลักษณ์ ปรับขนาดและสีตัวอักษรตามความเมาะสม > Next > ใส่กรอบ > Next > Next > Finish
-          วิธีใส่ขอบเขตแผนที่ > Insert > Data Frame > ลากข้อมูลตำบลมาใส่ > Copy ข้อมูลขอบเขตมหาวิทยาลัยมาใส่ ปรับสีให้เหมาะสม
-          วิธีการเพิ่มชื่อแผนที่ คำสั่ง Drawing > Rectangle ลากให้เป็นกรอบสี่เหลี่ยม สามารถปรับแต่งกรอบโดยการคลิกขวา Properties > ปรับขนาดและสีตามความเหมาะสม
-          วิธีใส่ชื่อแผนที่ > Insert > Title > พิมพ์ชื่อแผนที่
-          วิธีใส่คำอธิบายรายละเอียด > Insert > Text > พิมพ์รายละเอียดที่ต้องการ
-          วิธีใส่รูปภาพ > Inert > Picture > เลือกรูปที่ต้องการ > Open > ปรับขนาดตามความเหมาะสม
-           วิธีใส่มาตราส่วนแผนที่ คลิกขวาที่ตัวแผนที่ > Properties > Grids > New Grids >เลือกมาตราส่วนตามความเหมาะสมของตัวแผนที่ > Next >Next > Next > Finish > OK
-          วิธีปรับขนาดและสีของตัวอักษร > คลิกขวาที่แผนที่ > Properties > Properties > Labels > เลือกขนาดและสีตามความเหมาะสม > OK
-          วิธีการปรับค่าความละเอียดของภาพก่อนพิมพ์ > File > Export Map > ตั้งชื่อ ปรับความละเอียดเป็น 300  > Save


การกำหนดพิกัดภูมิศาสตร์แผนที่ การนำเข้าค่าพิกัด XY และการนำเข้าข้อมูล (Digitizing)



Lab 6

การกำหนดพิกัดภูมิศาสตร์แผนที่

-          การเรียกแถบเครื่องมือ Georeferencing
Connect Folder ที่มีไฟล์ภาพถ่ายและข้อมูลจุด ลากมาไว้ที่ Layer จะแสดงหน้าต่างตามภาพ (โดยถ้าจะไม่สามารถเห็นสองชั้นข้อมูลพร้อมกันไม่ได้เพราะยังไม่ได้กําหนดค่าพิกัด ถ้าต้องการดูชั้นข้อมูลไหนจะต้อง คลิกขวา ที่ Layer นั้น ๆ >Zoom Layer )
-          เรียกแถบเครื่องมือ Georeferencing
Customize > Toolbars > Georeferencing
-          การเพิ่มจุดควบคุมข้อมูลภาพด้วยคาสั่ง Add Control Point จากคำสั่งจะมีไอคอน Add Control Point
แต่ละจุดจะต้อง Zoom in ให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้เพื่อให้เกิดค่าความผิดพลาดน้อยที่สุด เพื่อความแม่นยำมากเพิ่มขึ้นควรจะ เพิ่ม Label . คลิกขวา > Label Features ควรเปลี่ยนสัญลักษณ์ให้กับ Label เพิ่มขนาด และเปลี่ยนสีเพื่อความแม่นยำกําหนดจุดกึ่งกลางและลากไปหา คลิกขวาและ Zoom to Layer ลากไปที่จุดกึ่งกลาง X 111 ทำอีก 6 จุดที่เหลือเหมือนกัน ทั้งหมด ปลโดยถ้ากําหนดพิกัดภูมิศาศตร์ 4 จุดขึ้นไปแล้ว เราสามารถดูความผิดพลาดได้
การดูค่าความผิดพลาดหลังจากเรากําหนดพิกัดภูมิศาสตร์ 4 จุดขึ้นไป คลิกที่ View Link Table
ค่าความผิดพลาดไม่ควรเกิน 0.5 หากเกินให้ลบจุดโดยคลิกที่ คือการลบออกแล้วกําหนดจุดใหม่
-          การคำนวณค่าพิกัดภาพถ่ายใหม่ด้วยคำสั่ง Rectify
Georeferencing > Rectify…แล้วเลือกโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บ โดยคลิกที่ เลือกโฟลเดอร์ > Add >เปลี่ยนชื่อไฟล์ > Save
-          การต่อข้อมูลแรสเตอร์ (Raster mosaic) จาก Raster Catalog
คลิกขวาแฟ้มข้อมูลที่จะจัดเก็บ สร้าง Personal Geodatabase > ตั้งชื่อว่า Mosaic > คลิกขวาที่Mosaic คลิก New > Raster catalog แล้วจะปรากฏหน้าต่าง ตั้งชื่อ ที่จะเซฟไว้ในช่อง Raster catalog name แล้ว คลิกขวา > Load > Load Raster Datasets คลิกแฟ้ม เลือกไฟล์ภาพถ่ายดาวเทียมที่จะมาต่อกัน และคลิก OK


การนำเข้าค่าพิกัด XY และการนำเข้าข้อมูล (Digitizing)

การนำเข้าค่าพิกัด XY
-          เปิดข้อมูลตารางในโปรแกรม Excel
-          Save as ใส่ชื่อที่ต้องการบันทึกแล้วเปลี่ยนนามสกุลให้เป็น .txt
-          เปิดโปรแกรม AraMap 10 นำเข้าข้อมูล .txt จากนั้นแปลงข้อมูลตารางให้เป็นจุด
-          คลิกขวาที่ข้อมูล เลือก Display XY Data จะขึ้นหน้าต่าง Display XY Data
-          คลิก Edit จะขึ้นหน้าต่าง Spatial Coordinate System คลิก Select จะขึ้น Browse for Coordinate System คลิก Projected Coordinate Systems > UTM > WGS 1984 > Northern Hemisphere > 47 N > Add > OK
-          ต่อไปเป็นการทำข้อมูลจุดให้เป็น Shape File
-          คลิกขวาที่ข้อมูล > Data > Export Data จะได้หน้าต่าง Export Data
-          คลิกที่รูปแฟ้ม เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการเซฟ ช่อง Save as type ให้เลือก Shape file > OK
การนำเข้าข้อมูล (Digitizing)
-          เปิดแผนที่ที่ต้องการดิจิไตซ์ขึ้นมา
-          สร้าง Folder เพื่อสร้าง Shape file > ตั้งชื่อชั้นข้อมูล > เป็น Line > เลือกแบบชั้นข้อมูลเป็น Polyline > Edit > ตั้งค่าพิกัด
-          คลิกขวาที่ชั้นข้อมูลที่สร้าง > Open Attribute Table
-          คลิก Table Options > Add Field > ตั้งชื่อหัวข้อตารางที่จะสร้าง > เลือกรูปแบบ Textเพื่อเก็บชื่อจำนวน 50-100 ตัวอักษร > OK
-          เลือกคำสั่ง Editor > Start Editing
-          จะขึ้นหน้าต่าง Start Editing > Continue
-          คลิกข้อมูลที่ต้องการ Digitizing > เลือกรูปแบบการ Digitizing
-          ทำการ Digitize พิมพ์ชื่อข้อมูลในตาราง
-          เมื่อเรา Digitizing เสร็จเราสามารถ Save โดยใช้คำสั่ง Editor > Save Edit ทำแบบนี้ทุกชั้นข้อมูล
-          ก็จะได้ข้อมูลที่ทำการ Digitize 


การสร้าง Geodatabase , Feature dataset และ Shape file



Lab 5
การสร้าง Geodatabase , Feature dataset และ Shape file

การสร้าง Personal Geodatabase
-          เปิดโปรแกรม Arcmap > Catalog > เลือก Folder > คลิกขวา Folder ที่สร้าง > New > Personal Geodatabase
-          คลิกขวา Folder ที่สร้าง > New > File Geodatabase
การนำเข้าข้อมูล Personal Geodatabase แบบทีละชั้นข้อมูล และแบบหลายชั้นข้อมูล
-          แบบทีละชั้นข้อมูล คลิกขวา Personal Geodatabase > Import > Feature Class Single > ช่อง Input Feature Class เลือกไฟล์ที่จะนำเข้า ช่อง Output Feature Class ให้ตั้งชื่อ > OK
-          แบบหลายชั้นข้อมูล คลิกขวา Personal Geodatabase > Import > Feature Class Multiple > ช่อง Input Feature Class เลือกไฟล์ที่จะนำเข้า ช่อง Output Feature Class ให้ตั้งชื่อ > OK
การสร้าง Feature Dataset
-          คลิกขวา File Geodatabase > New > Feature Dataset > ตั้งชื่อ > Next > เลือกค่าพิกัด UTM North 47 > Next > Finish
การสร้าง Feature Class
-          คลิกขวา Personal Geodatabase > New > Feature Class > ตั้งชื่อ > Next > เลือกค่าพิกัด > Next > Next > Finish  ( Feature Class และ Feature Dataset สามารถสร้างได้ใน Personal Geodatabase และ FileGeodatabase เท่านั้น
การสร้าง Shapefile
-          คลิกขวา Folder Geodatabase > New > Shapefile > ตั้งชื่อข้อมูล เลือกชั้นข้อมูล จุด เส้น โพลิกอน> Edit > เลือกค่าพิกัด > OK > OK (Shapefile ไม่สามารถสร้างได้ใน Geodatabase ได้ )

การสร้าง แก้ไขและจัดการป้ายข้อมูล



Lab 4
การสร้าง แก้ไขและจัดการป้ายข้อมูล

การแสดงป้ายข้อมูล จุด เส้น โพลิกอน
-          เปิดโปรแกรม Arcmap > ลากข้อมูลใส่ เปิดแถบเครื่องมือ Labeling
-          วิธีนำเข้าข้อมูลจุด คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล > Label manager > คลิดเครื่องหมายถูกที่ VILLAGE และDefault > เลือกแบบข้อมูล รูปแบบ สี ขนาดตัวอักษร > OK
-          ข้อมูลเส้น คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล > Label manager > คลิดเครื่องหมายถูกที่ TRANS และ Default >เลือกแบบข้อมูล รูปแบบ สี ขนาดตัวอักษร > OK
-          ข้อมูลโพลิกอน คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล > Label manager > คลิดเครื่องหมายถูกที่ AMPHOE และDefault > เลือกแบบข้อมูล รูปแบบ สี ขนาดตัวอักษร > OK
การจัดเรียงตำแหน่งป้ายชื่อตามความสำคัญและการให้น้ำหนักป้ายชื่อข้อมูล
-          การจัดเรียงตำแหน่ง คลิกเครื่องมือ Label Priority Ranging > เลือกป้ายข้อมูลตามความสำคัญ > OK
-          การให้น้ำหนัก คลิกเครื่องมือ Label weight Ranging > เลือกค่าน้ำหนัก > OK
การ Lock Label
-          คลิกเครื่องมือ Lock Label (เมื่อคลิกเครื่องมือ Lock Label แล้วจะไม่สามารถแก้ไขได้จนกว่าจะกดปลด Lock Label
การโชว์ Label ที่ไม่ได้แสดง และการเลือก Label บางจุดบางที่
-          การโชว์ Label คลิกเครื่องมือ View UnPlaced Label (เมื่อคลิกจะแสดงข้อมูลที่ไม่ได้แสดงในตอนแรกขึ้นเป็นอักษรีแดง)
-          การเลือกบางจุด คลิก Label ที่แถบเคื่องมือ Drawing > Label > เลือกชั้นมูลที่ต้องการ ปรับเปลี่ยน สี ขนาด รูปแบบตัวอักษร
การสร้าง LablAnnotation  
-          คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล > Label Features > คลิกขวาที่ชั้นข้อมูลอีกครั้ง > Convret Label to Annotation > In a database > All features > เลือกไฟล์เพื่อจัดเก็บ เปลื่อนชื่อ > Save > Convert
-          คลิกเครื่องมือ Editor > Start Editing > เลือก Annotation > OK > ขึ้นหน้าต่าง Create Feature > Edit Annotation tool > เลือกชื่อข้อมูล ขึ้นหน้าต่าง Attributes ปรับแต่งตัวอักษร ขนาด สี รูปแบบ > Apply