วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่



Lab 9

     Spatial analysis-1
              การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่

วิธีการคำสั่ง clip มี 3 วิธี
1.เปิดใน Arc toolbox >Extract >clip
2. search > clip
3. ไปที่ toolbar >Geoprocessing>clip
ก่อนอื่นทำการสร้างแฟ้มงานไว้โฟลเดอร์หนึ่งก่อน และทำการเปิดชั้นข้อมูลที่จะต้องการทำการclip แล้วเข้าคำสั่ง clip เราจะทำการ clip ชั้นข้อมูล rain กับ provinceinput : rain_sta > output : PROVINCE ให้เลือกแฟ้มที่จะจัดเก็บตั้งชื่อแล้วกด Save
-          การประมวลผลหลาย ๆ ข้อมูลพร้อมกัน (Batch processing)
โดยคลิกขวาที่คำสั่ง clip ใน arctoolbox > Batch แล้วลากข้อมูลเข้าไปในช่อง Input ถ้าต้องการจะเพิ่มก็ให้กดเครื่องหมายบวก โดยถ้าจะเซฟที่แฟ้มไหนให้คลิกสองครั้งที่ out put และเลือกโฟล์เดอร์ที่จะทำการเซฟ ตั้งชื่อ กดเซฟ เมื่อเสร็จแล้วให้คลิก OK
-          การหาพื้นที่ซ้อนทับด้วยคาสั่ง Intersect
เลือกชั้นข้อมูลที่จะทำการ intersect ใน input ผลจะแสดงตามภาพเมื่อเราทำการ intersect เรียบร้อยแล้วหน้าตาราง ข้อมูลที่ได้จากการ intersect ของ 2 ข้อมูล
-     การรวมพื้นที่ด้วยคาสั่ง Union
ในที่นี้เราจะเอาชั้นข้อมูล landuse_clip+POLBNDRY
-          การสร้างระยะห่างหรือแนวกันชนด้วยคำสั่ง Buffer
เลือกชั้นข้อมูลที่เราจะทำการ Buffer > ตั้งชื่อและตั้งชื่อชั้นข้อมูล >Distance ให้ตามใจเราว่าเราต้องการจะตั้งแนวกันชนให้กับชั้นข้อมูลเท่าไร ในที่นี้เราใส่ค่าไป 500 Meter
-          การรวมชั้นข้อมูลด้วยคำสั่ง Merge
ลากชั้นข้อมูลที่ต้องการ Merge ไปในช่อง Input เลือกแฟ้มงานที่ต้องการจะเซฟชั้นข้อมูลแล้วกดOK
-          การรวมกลุ่มข้อมูลด้วยคำสั่ง Dissolve
ลากชั้นข้อมูลที่จะทำการ Dissolve มาไว้ในช่อง input เลือกแฟ้มที่จะจัดเก็บชั้นข้อมูลที่สร้าง คลิกเครื่องหมายถูกที่ MLU_DES และกด OK
-          การวัด (Measure) พื้นที่ ระยะทาง และเส้นรอบวง
-          การวัด (Measure) พื้นที่ ระยะทาง และเส้นรอบวง
การคำนวณระยะทางเส้น เปิดชั้นข้อมูล Line ที่ทำการคลิปแล้วขึ้นมาคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล เลือก Open Attribute Table จะได้หน้าต่างชื่อ Table ขึ้นมาแล้วคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล เลือก Open Attribute Table จะได้หน้าต่างชื่อ Table ขึ้นมาหน้าต่าง Add Field ช่องName ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เปลี่ยนเป็น Float (หน่วยทศนิยม) ช่อง Percisionใส่ค่าเป็น 10 ช่อง Scale ใส่ค่าเป็น 2 (ทศนิยมตํ่าแหน่งเมื่อเรียบร้อยกด OK แล้ว หน้าต่าง Add Field ช่อง Name ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เปลี่ยนเป็น Float (หน่วยทศนิยม)ช่อง Percision ใส่ค่าเป็น 10 ช่อง Scale ใส่ค่าเป็น 2 (ทศนิยมตํ่าแหน่งเมื่อเรียบร้อยกด OK ในช่อง Distance จะมีตัวเลขที่แสดงแต่ละเส้นไหนยาวสุดหรือสั้นสุด
-          การคำนวณหาพื้นที่ Polygon
เปิดชั้นข้อมูลที่ทำการ Clip แล้วขึ้นมาคลิกขวาที่ชั้นข้อมูล Polygon เลือก Open Attribute Table จะได้หน้าต่างชื่อ Table ขึ้นมาแล้วคลิกคำสั่ง Table Options > Add Field จะได้หน้าต่าง Add Field ขึ้นมาที่หน้าต่าง Add Field ช่อง Name ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เลือกเป็น Double ช่อง Precision ใส่ค่า เป็น 15 ช่อง scale ใส่ค่าเป็น 2 เมื่อเรียบร้อยแล้วกด OK คลิกขวาที่คอลั่ม Area > Calculate Geometry จะมีหน้าต่าง Calculate Geometry ขึ้นมา กด OK ปรากฏค่าตัวเลขขึ้นมา จะสามารถดูได้ว่า Polygon รูปใดมีขนาดใหญ่สุด เล็กสุด
-          การคำนวณหาเส้นรอบวงของ Polygon
ทำเหมือนขั้นตอน ของ Polygon ถึงขั้น ตอน Add Field พอได้หน้าต่าง Add Field ขึ้นมา ที่หน้าต่าง Add Field ช่อง Name ให้ตั้งชื่อที่ต้องการ Type ให้เลือกเป็น Float ช่องPrecision ใส่ค่าเป็น 15 ช่อง scale ใส่ค่าเป็น 2 เมื่อเรียบร้อยละกด OK คลิกขวาที่คอลั่ม > Calculate Geometry จะมีหน้าต่าง Calculate Geometry ตรงช่องที่เป็น Areaอยู่ให้เปลี่ยนเป็น Perimeter ขึ้นมา กด Ok ในคอลั่มที่สร้างขึ้นจะมีตัวเลขขนาดเส้นรอบวงของ Polygon



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น